การเมืองกับการพัฒนา (politics and development) การเมืองภาคการเกษตร (agrarian politics) การเมืองในชีวิตประจำวัน (everyday politics)
1.1 ณัฐกานต์ อัครพงศ์พิศักดิ์. (2559). กระบวนการเปลี่ยนแปลงในการควบคุมที่ดิน "เพื่อเกษตรกรรม" ของส.ป.ก. ภายใต้อิทธิพลของนโยบายเขียว-คาร์บอนต่ำ: กรณีโรงไฟฟ้าพลังงานลม จังหวัดชัยภูมิ. งบประมาณเงินรายได้ประจำปี พ.ศ. 2558 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
1.2 ณัฐกานต์ อัครพงศ์พิศักดิ์. (2557). การเมืองว่าด้วยเรื่องพืชพลังงานและความเปลี่ยนแปลงของสังคมเกษตร: ศึกษากรณีการปลูกอ้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. งบประมาณเงินรายได้ประจำปี พ.ศ. 2556 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
2.1 ณัฐกานต์ อัครพงศ์พิศักดิ์. (2557). การเมืองในชีวิตประจำวันของครัวเรือนอีสานภายใต้บริบทของการปลูกอ้อยในฐานะพืชพลังงาน. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง 10, 3 (กันยายน-ธันวาคม 2557): 1-23.
บทความ
1.บทความวิชาการ
2. บทความประชุม วิชาการระดับชาติ
2.1 ณัฐกานต์ อัครพงศ์พิศักดิ์. (2559). “การกลายสภาพของที่ดินสปก.และการต่อรองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้บริบทของการพัฒนาพลังงานทางเลือก: กรณีโรงไฟฟ้าพลังงานลม จังหวัดชัยภูมิ.” การประชุมวิชาการระดับชาติ วิถีชาติพันธุ์ในอีสาน: “ภาวการณ์กลายเป็น” ในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่, ขอนแก่น, 7-8 เมษายน 2559.
4.1วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก Nattakant Akarapongpisak. (2011). Rethinking State-Village Relations: Positive Forms of Everyday Politics and Land Occupation in Thailand (1997-2010). PhD, Australian National University, Canberra.
4.2 หนังสือแปล แมคไมเคิล, ฟิลิป. (2559). ระบอบอาหารและคำถามว่าด้วยสังคมเกษตรกรรม. แปลจาก Food Regimes and Agrarian Question. แปลโดย สร้อยมาศ รุ่งมณี, ณัฐกานต์ อัครพงศ์พิศักดิ์, ทับทิม ทับทิม และศักรินทร์ ณ น่าน. เชียงใหม่: ศูนย์ภูมิภาคด้านสังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เชิงชาญ จงสมชัย คณบดี
Copyright © 2013 - College of Politics and Governance