Page 81 - จริยธรรมในการบริหารรัฐกิจ สำหรับศตวรรษที่ 21
P. 81
จรยิ ธรรมในการบรหิ ารรัฐกิจ ส�ำ หรบั ศตวรรษท่ี 21 6655
(2) ยุคกลาง (Aristotle) ลักษณะสากล : “คนดี” คือ คนท่ีมี
(Middle Ages) ลักษณะนิสัยที่ดี (good character)
ออกสั ตนิ ประพฤติตามหลักคุณธรรม (virtues)
(3) ยคุ สมยั ใหม่ (Augustine) และ และดาเนินชีวิตตามหลักทางสายกลาง
(Modern Ages) อไควนสั (mean) ส่วน “คนช่ัว” คือ คนท่ีมี
(Thomas ลักษณะนสิ ัยท่ไี มด่ ี ไม่ได้ประพฤติตาม
Aquinas)
(1) มาเคยี เวลลี หลักคุณธรรม และไม่ได้ดาเนินชีวิต
(Niccolo ตามหลกั ทางสายกลาง
Machiavelli)
เกณฑ์การตัดสินเชิงจริยธรรม มี
ลักษณะสากล : “คนดี” คือคนท่ี
ศ รั ท ธ า ใ น พ ร ะ เ จ้ า แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต า ม
คาสอนในศาสนาครสิ ต์ ส่วน “คนชั่ว”
คือคนท่ีไม่ศรัทธาในพระเจ้าและไม่ได้
ปฏบิ ตั ิตามคาสอนในศาสนาคริสต์
เกณฑ์การตัดสินเชิงจริยธรรม มี
ลักษณะสมั พัทธ์ : “คนท่ีมีจริยธรรม”
คือคนท่ีเข้าใจว่า “ความจาเป็น”
(necessary) คือข้อกาหนดที่สูงท่ีสุด
ของบุคคลในการทาสิ่งต่างๆ ให้
ประสบความสาเรจ็ และสามารถทาให้
เปูาหมายของตนประสบความสาเร็จ
ได้ (ไมว่ า่ ด้วยวธิ กี ารใด) ส่วน “คนที่ไม่
มีจริยธรรม” ก็คือคนท่ีไม่เข้าใจถึง
หลักการของ “ความจาเป็น” ดังกล่าว
และไมส่ ามารถทาให้เปูาหมายของตน
รองศาสตราจารย์ ดร.ประโยชน์ ส่งกลนิ่