Page 216 - การฟื้นคืนกลับมาของจริยธรรมเชิงคุณธรรมในการบริหารรัฐกิจ
P. 216
196 การฟน้ื คนื กลับมาของจริยธรรมเชิงคณุ ธรรมในการบรหิ ารรัฐกจิ 196
“...ผลท่ีตามมาก็คือ... การสร้างตัวตนท่ีมากกว่าหน่ึง
ตัวตนข้ึนมา เจ้าหน้าท่ีรัฐต้องสร้างลักษณะนิสัยที่แตกต่างข้ึนมา...
ในองค์การยุคสมัยใหม่ลักษณะนิสัยมีลักษณะคล้ายกับหน้ากาก
หรือชุดของเส้ือผ้า ซ่ึงผู้จัดการอาจจะมีมากกว่าหนึ่งช้ินหรือหนึ่ง
ชุด… เมื่อผู้จัดการเปล่ียนจากสภาพแวดล้อมของครอบครัวไปสู่
สภาพแวดล้อมขององค์การ เขาก็จาเป็นท่ีจะต้องเปล่ียนทรรศนะ
ในทางศีลธรรมตามไปด้วย... ผู้ที่มีบทบาทเป็นผู้จัดการ... จึงเป็น
เสมือน ‘คนเร่ร่อน’ ซึ่งต้องแยกตัวเองออกจากชุมชน หรือเป็น
เสมอื น ‘ตัวตนท่แี บ่งแยก’”6 (อา้ งใน Moore, 2008, p. 487)
ตามทรรศนะของแมคอินไทร์ ผู้จัดการ (manager) ในระบบ
ราชการเป็นผู้ท่ีน่าสงสารและน่าเห็นใจ เน่ืองจากถูกล็อค (lock) ไว้ใน
6 เนื้อหาท่เี ป็นภาษาองั กฤษของขอ้ ความในส่วนน้คี อื ...The outcome... is
the creation of more than one self. The agent has to fabricate distinct
characters... in the modern corporate organization character has
become more like a mask or a suit of clothing; an agent may have to
possess more than one... when the executive shifts from the sphere of
the family to that of the corporation he or she necessarily shifts moral
perspective... people who actually inhabit the role of manager... as a
kind of ‘homeless’ who is cut loose from any community or...as
‘divided selves’. (Cite in Moore, 2008, p. 487).