เมนูหลัก >หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

 
 
    หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2560) วิทยาลัยการเมืองการปกครอง (College of Politics and Governance)
     
  ชื่อหลักสูตร  
    ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชารัฐศาสตร์             ตัวย่อ   ปร.ด. (รัฐศาสตร์)
Doctor of Philosophy (Political Science)                 Ph.D. (Political Science)
     
  รายละเอียดหลักสูตร
    วิชาเอก        :  รัฐศาสตร์
     
  จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
   

-จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต

ปีที่ 1 24 หน่วยกิต
ปีที่ 2 24 หน่วยกิต
ปีที่ 3 24 หน่วยกิต
รวม 72 หน่วยกิต

 

- การเทียบโอนหน่วยกิต และรายวิชา ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำ
คณะและต้องเป็นไปตามข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

     
  ค่าใช้จ่ายหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ระบบในเวลาราชการ
   

- ค่าธรรมเนียมภาคเรียนละ  16,000 บาท
- ค่าหน่วยกิต หน่วยกิตละ  4,000   บาท
- ค่าลงทะเบียนเรียนของนิสิตตลอดหลักสูตร   392,400 บาท /คน /ปี * รวมค่าใช้จ่ายทั้งหมด

 

ค่าใช้จ่าย
ตลอด
หลักสูตร
ระบบในเวลาราชการ
ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3
ภาคต้น ภาคปลาย ภาคพิเศษ ภาคต้น ภาคปลาย ภาคพิเศษ ภาคต้น ภาคปลาย ภาคพิเศษ
392,400 65,400 65,400 - 65,400 65,400 - 65,400 65,400 -

 

     
 

ระยะเวลาการศึกษา

   

การเรียนการสอน ระบบปกติ เรียนเต็มเวลา วันจันทร์ – วันศุกร์ 
ใช้เวลาศึกษา 3 ปี ทั้งหมด 6 ภาคการศึกษา
มีทุนสนับสนุนนำเสนอบทความและงานวิทยานิพนธ์ทั้งในและต่างประเทศ

     
  ภาคการศึกษา
   
ภาคต้น เดือนสิงหาคม – ธันวาคม
ภาคปลาย เดือนมกราคม – พฤษภาคม
ภาคการศึกษาพิเศษ เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม
     
  สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จากหลักสูตร
   

- ห้องสมุดสีดา  สอนศรี  (วิทยาลัยการเมืองการปกครอง)
- ห้องพักนิสิตระดับปริญญาโทและเอก
- ห้องคอมพิวเตอร์และ Wifi ทั้งตึก
- การศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ
- ทุนสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์
- วารสารวิทยาลัยการเมืองการปกครอง
- คลินิกให้คำปรึกษาการทำวิทยานิพนธ์
- การสัมมนาหัวข้อและนำเสนอวิทยานิพนธ์
- งานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

     
  แผนการรับนิสิต
    ระบบในเวลาราชการ  ปีการศึกษาละ 10 คน
     
  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
   

1.ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโททางรัฐศาสตร์หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาอื่น              
ที่เกี่ยวข้องจากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรองและมีคุณสมบัติ
อื่นตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาสารคามว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2557 หมวด 5
(การรับเข้าเป็นนิสิตและสภาพนิสิต) ข้อ 17
2.มีผลการสอบภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด

     
 

วิธีการคัดเลือก

   

1. สอบข้อเขียน 
2. สอบภาษาอังกฤษ 
3. สอบสัมภาษณ์ 

     
  การรับสมัคร
   

ระยะเวลาในการรับสมัคร

รับสมัครผ่านเว็บไซต์ / ด้วยตนเอง

ประมาณเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี

สอบข้อเขียน

ประมาณเดือนมีนาคมของทุกปี

สอบสัมภาษณ์

ประมาณเดือนเมษายนของทุกปี

เปิดการการศึกษา

เดือนสิงหาคม

     
  การสมัคร 
   

1.  สมัครผ่านเว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาสารคาม   www.grad.msu.ac.th
2.สมัครด้วยตนเอง ณ  บัณฑิตวิทยาลัยอาคารราชนครินทร์ชั้น 2 ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย
จังหวัดมหาสารคาม 44150 โทรศัพท์ 0 4375 4412,  0 4375 4333 - 40 ภายใน 2012 2013

     
  หลักฐานประกอบการสมัคร 
   

1. ใบสมัครคัดเลือกที่ชำระเงินแล้วฉบับจริงพร้อมติดรูปถ่ายขวามือด้านบนพร้อมลงชื่อผู้สมัคร
2. ใบหลักฐานการชำระเงินที่ธนาคารออกให้สลิปธนาคารฉบับจริง และฉบับสำเนายกเว้นธนาคารไทยพาณิชย์จำกัดมหาชนจะไม่มีสลิปธนาคาร
3. สำเนาใบแสดงผลการเรียนจำนวน 1 ชุดพร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง
4. สำเนาหลักฐานการเปลี่ยนชื่อสกุลถ้ามีจำนวน 1 ชุดพร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง

     
  สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 
    งานบัณฑิตศึกษาวิทยาลัยการเมืองการปกครอง  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  โทรศัพท์ 0 43-754317 ต่อ 3713
     
  ท่านจะได้ศึกษาในหลักสูตรที่ก้าวหน้าและทันสมัยไม่แพ้ที่ใดในประเทศนี้ และท่านจะได้ศึกษากับคณาจารย์ที่มี profile ไม่แพ้ที่ใดในประเทศนี้ ทั้งที่จบจาก... 
   

- สหรัฐอเมริกา เช่น University of Massachusette, University of Hawaii at Manoa และ Webster University
- อังกฤษ เช่น University College London, University of Birmingham และ University of York
- สกอตแลนด์ เช่น University of Aberdeen, Scotland
- เนเธอร์แลนด์ เช่น International Institute of Social Studies, Erasmus University Rotterdam - ออสเตรเลีย เช่น Australian National University, University of New England และ Monash University
- นิวซีแลนด์ เช่น University of Canterbury
- รัสเซีย เช่น St. Petersburg State University Russian, Russian
- ญี่ปุ่น เช่น University of Tokyo, Hokkaido University และ Hitotsubashi University
รวมถึง ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ อินโดนีเชีย จุฬาฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ฯลฯ

   
     
  อาจารย์พิเศษที่มีความเชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอกประเทศ อาทิ
   

- ศ.ดร.ชัยวัฒน์  สถาอานันท์
- ศ.ดร.ไชยันต์  ไชยพร
- Prof.Dr.Frank  Fischer
- Prof.Dr. Maria Faina L. Diola
- Assoc. Prof Jocelyn C. Cuaresma
- ศ.พิเศษ  ดร.อเนก  เหล่าธรรมทัศน์
- ศ.ดร.โกวิทย์  พวงงาม
- ศ.วุฒิสาร  ตันไชย
- รศ.ธเนศ  วงศ์ยานนาวา
- รศ.ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์
- รศ.ดร.สุบรรณ  เอี่ยมวิจารณ์
- ผศ.ดร.ทวิดา กมลเวชช
- ผศ.ดร.วสันต์  เหลืองประภัสร์
- ผศ.ดร.พิชญ์  พงษ์สวัสดิ์
- Prof. Dr. Audi จาก Indonesia
- อาจารย์โรจน์ลักษณ์  ปรีชา
- อาจารย์เบญจมาศ  โคตรหนองบัว
- อาจารย์อดุลย์  ค้ำชู 

 

 

     
  ตัวอย่างรายวิชาในหลักสูตรที่จะเสริมสร้างองค์ความรู้ทางวิชาการด้านรัฐศาสตร์ที่เข้มแข็ง
   

- พื้นฐานปรัชญาและทฤษฎีการเมือง
- ทฤษฎีการบริหารจัดการภาคสาธารณะขั้นสูง
 - ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศขั้นสูง
 - การแสวงหาความรู้และการวิเคราะห์ทางการเมือง
- สัมมนาการเมืองเปรียบเทียบ
- สัมมนาสถาบันทางการเมืองกระบวนการทางการเมืองและกฎหมายมหาชน
- สัมมนานิเวศวิทยาของการบริหารในยุคโลกาภิวัตน์
- สัมมนานโยบายสาธารณะ
- สัมมนาความขัดแย้งและความร่วมมือระหว่างประเทศ
- สัมมนาการเมืองระหว่างประเทศทฤษฎีและการปฏิบัติ
 - สัมมนาความร่วมมือส่วนท้องถิ่น
 - สัมมนาขบวนการทางสังคมและการเมืองของความยุติธรรม
 - สัมมนานโยบายและการเมืองของการลดความยากจน
- สัมมนาการวางแผนแบบมีส่วนร่วมและผนึกกำลัง

     
  เอกสารรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสมัคร
   

- อาจารย์ประจำหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
- ประวัติและผลงานอาจารย์ประจำหลักสูตร
- รายละเอียดรายวิชาและโครงสร้างการศึกษา
- แผ่นพับประชาสัมพันธ์ (1)
- แผ่นพับประชาสัมพันธ์ (2)